โลโก้เว็บไซต์ คลังความรู้ชุมชน เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์ | คลังความรู้ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

คลังความรู้ชุมชน เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์

เผยแพร่เมื่อ : ศุกร์ 27 สิงหาคม 2564 โดย รัตนาภรณ์ สารภี จำนวนผู้เข้าชม 2816 คน

ยังไม่มีคะแนนสำหรับบทความนี้ ผู้อ่านสามารถให้คะแนนบทความได้จากปุ่มข้างใต้

 

คลังความรู้ชุมชน เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์

โดย สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

ปี 2556

จำนวน 153 หน้า

 

เกี่ยวกับหนังสือ

หนังสือเรื่อง "คลังความรู้ชุมชน เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์" เล่มนี้ ถ่ายทอดองค์ความรู้จากการบูรณาการศาสตร์งานวิจัยและงานบริการวิชาการร่วมกับการเรียนการสอนจากคณาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ครอบคลุมสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร วิศวกรรมศาสตร์ บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ตลอดจนศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ และนำไปประยุกต์ต่อยอดใช้ในกิจการหรือชีวิตประจำวันอย่างสัมฤทธิผล เพื่อพัฒนาชุมชนอย่างเป็นระบบและมีส่วนร่วม

 

" การถ่ายทอดเทคโนโลยีองค์ความรู้จากงานวิจัย เพื่อนำไปประยุกต์ใช้และปฏิบัติได้จริงของชุมชน เพื่อเป็นการพัฒนาชุมชนและสังคมอย่างยั่งยืนสืบไป "

 

 คลังความรู้ชุมชน เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์ [pdf]

 

สามารถอ่านหนังสือ แบบออนไลน์ได้ที่ URL ต่อไปนี้

 

Flipbook | คลิก

 

 

สารบัญ

1-ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

2 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

4 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

6 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่เชียงราย

8 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่น่าน

10 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่พิษณุโลก

12 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ตาก

14 ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ลำปาง

16 ประวัติความเป็นมา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร

 

19-เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์ ด้านบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์

20 การศึกษาปัจจัยแวดล้อมที่มีผลสัมฤทธิ์ต่อความสนใจเรียนวิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์

22 การศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนวิชา มัคคุเทศก์ 1 : กรณีศึกษา นักศึกษาหลักสูตรวิชาการท่องเที่ยว

24 การศึกษาศักยภาพในการดำรงชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียน ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์

28 การพัฒนาระบบจองห้องเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์

30 การปรับปรุงคุณภาพน้ำประปาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตภาคพายัพ

32 การศึกษาแนวทางปรับปรุงการให้บริการห้องสมุด

34 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

36 แนวทางการพัฒนาการแพทย์พื้นบ้านไทเขินในจังหวัดเชียงใหม่

39 รูปแบบการปลูกฝังวินัย การปฏิบัติตามกฎจราจรของนักศึกษา

 

43-เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

44 การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน

46 การจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดินในการปลูกสับปะรด

48 การใช้ขนมปังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารไก่

50 การใช้ปุ๋ยชีวภาพฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของยอดชาอู่หลง

53 การถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตส้มเกลี้ยงคุณภาพดีเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นแบบยั่งยืน

55 การทำเต้าเจี้ยว

57 การบริหารแมลงศัตรูส้มด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น

60 การผลิตสับปะรดเพื่ออุตสาหกรรมในชุมชน กรณีศึกษา อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก

62 การพัฒนาคุณภาพผักเชียงดา เพื่ออุตสาหกรรมการแปรรูป

64 การเพาะเลี้ยงแหนแดง

66 การเพาะเห็ดโคนน้อย เห็ดฟาง ในกระถางที่มีส่วนผสมของผักตบชวา ฟางข้าว กับการใช้น้ำส้มควันไม้ในระยะการเจริญเป็นดอกเห็ด

70 การวิจัยและพัฒนาระบบการผลิตสับปะรดเพื่อรับรองมาตรฐานฟาร์ม

74 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

76 การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการผลิตส้มเกลี้ยงที่ยั่งยืน

79 การศึกษาลักษณะทางสรีรวิทยาและการจัดการน้ำและธาตุอาหารของสบู่ดำอย่างมีประสิทธิภาพ

82 ครีมพอก/ขัดหน้าสูตรมะขาม

84 คุกกี้ผักหวานป่า

86 โครงการทดลองปลูกงาอินทรีย์ในพื้นที่ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ

89 ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของพริกชี้ฟ้าและผลิตภัณฑ์จากพริกชี้ฟ้า

91 ผลของการจัดแต่งทรงต้น การตัดแต่งกิ่ง และการติดผลที่มีต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของส้มเกลี้ยง

95 เมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง

97 โรคพริกชี้ฟ้าและการป้องกันกำจัด

 

99-เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์ ด้านวิศวกรรมศาสตร์

100 การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและชีวภาพน้ำมันทอดใช้แล้วในจังหวัดลำปาง เพื่อนำไปผลิตไบโอดีเซล

101 เครื่องปั้นเม็ดปุ๋ยชีวภาพแบบจานสำหรับครัวเรือน

104 การออกแบบและสร้างเตาเผาแกลบแบบไซโคลนขนาดเล็กใช้รวมกับเตาอบลำไยแบบไต้หวัน

106 พัฒนาเครื่องรบกวนระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบรังผึ้งชนิดพกพา

108 ระบบสำรองข้อมูลทางอินเตอร์แบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟสบนระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์ซ

 

111-เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์ ด้านศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์

112 การพัฒนาเส้นด้ายผสมด้วยเส้นใยฝ้ายและเส้นใยขนแกะ

114 กรณีศึกษาจิตรกรรมฝาผนังล้านนาวัดพระสิงห์จังหวัดเชียงใหม่

115 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอกลุ่มทอผ้าบ้านดอยแก้ว ตำบลดอยแก้ว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่

 

119-เปิดกรุองค์ความรู้ มทร.ล้านนา สู่การใช้ประโยชน์ ด้านการบริการวิชาการ

120 โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน/ชุมชน แบบมีส่วนร่วม

123 ก๊าซชีวภาพมูลไก่

127 การจัดการขยะชุมชน

131 เครื่องปั้นดินเผา หมู่บ้านหัตถกรรม ต้นแบบ OTOP บ้านเหมืองกุง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่

133 การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านปง-ห้วยลาน ตำบลออนใต้ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่

136 การบูรณาการยกระดับคุณภาพชีวิตบ้านดิน บ้านแม่โจ้ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่

138 การยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน บ้านม่อนแก้ว ตำบลพิชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง

141 ชีวิตหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับ “พออยู่ พอกิน” บ้านริมกวาง ตำบลบ้านกาด อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่

143 การยกระดับคุณภาพชีวิตครอบครัวผู้พิการบ้านวอแก้วแบบมีส่วนร่วม

145 หมู่บ้านเกษตรแปรรูปเชิงอนุรักษ์

147 การบริการวิชาการโดยชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม อำเภอลอง จังหวัดแพร่

149 พลังงานทดแทน

150 การสร้างชุมชนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านห้วยส้านดอนจั่น อย่างยั่งยืน

152 การพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง บ้านห้วยลอย ตำบลภูฟ้า อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน

 







ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา