หมู่บ้านห้วยกานมีสถานที่สำคัญ
ดังนี้
๑.
วัดห้วยกาน
ปัจจุบันมีพระสงฆ์ ๔ รูป เณร ๒ รูป เด็กวัด ๑ คน
ล่าม ๑ คน
และคณะกรรมการวัด ๑ แห่ง
๒.
สำนักปฏิบัติธรรมตาลคู่
ปัจจุบันมีพระสงฆ์ ๓ รูป เณร - รูป เด็กวัด ๑ คน
ล่าม ๑ คน
และคณะกรรมการวัด ๑ แห่ง
๓.
โรงเรียนบ้านห้วยกาน
สปอ.บ้านโฮ่ง มีครู ๙ คน มีนักเรียน ๑๒๘ คน ภารโรง – คน
ปัจจุบันมีครู
๑๑ คน แบ่งเป็นข้าราชการครู ๙ คน ครูอัตราจ้าง ๒ คน
มีนักเรียน
๑๒๗ คน แบ่งเป็นชาย ๖๖ คน และหญิง ๖๑ คน ๑ แห่ง
๔.
โรงเรียนมัธยมศึกษา
สศจ.ลำพูน ปัจจุบันมีครู ๑๔๕ คน มีนักเรียน ๑,๕๔๙ คน
นักการ ๑๒ คน ๑ แห่ง
๕.
ศูนย์อบรมข้าราชการกรมการปกครองภาคเหนือ
ปัจจุบันเป็นวิทยาลัยการปกครองภาคเหนือ ๑ แห่ง
๖.
ธนาคารกรุงไทย สาขาบ้านโฮ่ง ๑ แห่ง
๗.
ธนาคารออมสิน
สาขาบ้านโฮ่ง ๑ แห่ง
๘.
ธนาคารเพื่อการเกษตร
(ธกส.) สาขาบ้านโฮ่ง ๑ แห่ง
๙.
ตลาดไชยวานิช ๑ แห่ง
๑๐.
ร้านทอง ๒ แห่ง
๑๑.
ตู้ยามจราจร
๑ แห่ง
๑๒.
หน่วยบำรุงรักษาป่า
ลพ.๒ บ้านโฮ่ง ๑ แห่ง
๑๓.
ห้องสมุดประชาชน ๑ แห่ง
๑๔.
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ๑ แห่ง
๑๕.
ตลาดโลตัส ๑ แห่ง
๑๖.
แหล่งเงินกู้ต่างๆ ๑๐ แห่ง
๑๗.
ร้านค้าต่างๆ ๑๐ แห่ง
สิ่งแวดล้อมของชุมชน
ถนนในหมู่บ้านสายหลัก
เป็นถนนลาดยาง, คอนกรีต, ลูกรัง และดิน
แหล่งน้ำธรรมชาติ
มีแม่น้ำลี้, ลำห้วยกานหลวง, อ่างเก็บน้ำผาลาด
แหล่งน้ำประปา
ทั้งหมดมี ๗ จุด
และบ่อน้ำบาดานสาธารณะ
สถานที่ราชการ มีวัด, โรงเรียน, ป้อมตำรวจ,
ศูนย์เด็กเล็ก, หอกระจายข่าว. ศาลาหมู่บ้าน, ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน,
ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน ๑๖๑/๑ บ้านห้วยกาน หมู่ที่ ๑ ตำบลบ้านโฮ่ง
อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน
0-14 ปี | 15-24 ปี | 25-59 ปี | 60 ปีขึ้นไป |
---|---|---|---|
0 | 0 | 0 | 13 |
ประวัติของหมูบานหวยกานตามที่ไดรับการเลาสืบตอกันมา แตกอนการดํารงชีวิตของผูคนจะมีการปลูกขาว ปลูกพืช เลี้ยงสัตว การทอผาไวใชเอง หาพืชสมุนไพรและหาของกินในปา รวมทั้งการนําสัตวเลี้ยงเชน วัว ควาย ออกมาเลี้ยงไปเรื่อยๆ จนพบที่อุดมสมบูรณเหมาะที่จะทําการเกษตร ก็จะพากันอพยพมาอยูเปนการยายถิ่นของแตละครอบครัว เชนเดียวกันกับนายเห็ดหยางและเพื่อนอีก ๗ ครอบครัวที่อพยพมาอยูบริเวณที่เปนตนขี้เหล็กและตนไมเหวของหมูบานหวยกาน ตอมาก็มีผูติดตามมาอยูรวมอีก ๑๕ ครอบครัวเมื่อมีคนมาอยูรวมกันมากจึงไดสรางอารามขึ้นตรงกลางทุงนาดานทิศใตของวัดในปจจุบันนี้ ใหชื่อวา“อารามเวฬุวนราม” เมื่อป พ.ศ.๒๔๐๐ ตอมามีน้ำาจากลําหวยกานนอย ไดไหลมาทวมบอยๆ จึงไดยายขึ้นมาสราง ณ ปาไผ ซึ่งเปนสถานที่สรางวัดในปจจุบันนี้ และมีครูบาอุตมะเปนเจาอาวาสรูปแรกของวัดหวยกาน ป พ.ศ. ๒๔๑๒ สวนการกอสรางเสนาสนะสถานครั้งแรก คือ หอไตร(หอธรรม) ไดสรางป พ.ศ.๒๔๕๔ ในสมัยพระอธิการคําตา เปนเจาอาวาส สวนพระธาตุและวิหารเริ่มสรางสมัยครูบายศ ทนนทโย เปนเจาอาวาส เมื่อป พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยขออนุญาตสรางจากพระสังฆาธิการแขวงปากบอง (อําเภอปาซางปจจุบัน) และได นิมนตครูบาเจาศรีวิชัยมาเปนประธานในการกอสราง ครูบาไดวางขนาดความกวางของวิหารเทาปจจุบัน ความยาวเทากับเชิงบันไดนาคปจจุบันนี้ เพราะทานไดทํานายไววาตอไปหมูบานหวยกานจะเปนหมูบานใหญ มีผูคนอพยพมาอยูกันมากมาย แตการกอสรางครั้งนั้นมีผูคัดคาน จึงไดยนความยาวเขามาเทาที่เห็นในปจจุบันแตยังคงลวดลายปูนปน หนาบันหนา-หลัง และดานขางยังคงเปนศิลปะสมัยของครูบาเจาศรีวิชัยอยู่
หมู่บ้านห้วยกาน
เป็นหมู่บ้านที่ 1 ของตำบลบ้านโฮ่ง
ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน เป็นที่ราบตั้งอยู่ระหว่างกม.ที่ ๑๐๙ ถึงกม.ที่ ๑๑๒
ระยะทางยางประมาณ ๓,๐๐๐ เมตร บ้านเรือนตั้งอยู่ ๒ ข้างทางกระจายบนสองฟากถนน
บนทางหลวงถนนสายลี้-ลำพูน อยู่ห่างจากตัวเมืองลำพูน ๔๐ กิโลเมตร
ห่างจากที่ว่าการอำเภอบ้านโฮ่ง ๕ กิโลเมตร
อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ บ้านโฮ่งหลวง
ทิศใต้ บ้านเกาะทุ่งม่าน
ทิศตะวันออก บ้านห้วยน้ำดิบ
ทิศตะวันตก บ้านป่าป๋วย
อยู่ห่างจากตัวเมืองลำพูน
๔๐ กิโลเมตร เดินทางโดยใช้เส้นทางหลวงถนนสายลี้-ลำพูน
ฤดูร้อนช่วงระยะเวลาตั้งแต่ เดือนมีนาคม ถึง เดือนพฤษภาคม อุณหภูมิ 28 - 35 c
ฤดูฝนช่วงระยะเวลาตั้งแต่ เดือนมิถุนายน ถึง เดือนตุลาคม อุณหภูมิ 25 - 30 c
ฤดูหนาวช่วงระยะเวลาตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนกุมภาพันธ์ อุณหภูมิ 17-25 c
เป็นบ้านเรือนตั้งอยู่สองข้างทางกระจายบนสองฟากถนน
บนทางหลวงถนนสายลี้-ลำพูน
มีพื้นที่ทั้งหมด
๑๒,๔๐๐ เป็นที่ราบตั้งอยู่ระหว่างกม.ที่ ๑๐๙ ถึงกม.ที่ ๑๑๒
Village Profile
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา© Village Profile 2018-2019 - All rights reserved.